❥ ЈαĸĸαЈϋи ѕмίℓё ❀
วันพฤหัสบดีที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2555
วันพุธที่ 11 มกราคม พ.ศ. 2555
ในแต่ละเช้าที่เราตื่นนอนกันทุกวัน สังเกตไหมว่าเรายังต้องใช้เวลาสักนิดสักหน่อย ในการปรับจูนสมองและสภาพร่างกาย จากนั้นเราถึงจะอาบน้ำ แต่งตัว ลงมาทานอาหารเช้า พร้อมจิบกาแฟอุ่น ๆ กระตุ้นร่างกายให้ตื่นตัวยิ้มรับกับกิจกรรมวันใหม่ที่จะเริ่มต้นขึ้น ทำเช่นนี้เป็นประจำทุกวัน ๆ แต่วันนี้...นอกจากจะต้องปลุกตัวเองแล้ว คุณจะต้องปลุกแก้วกาแฟ มอร์นิ่ง มัค (Morning Mug) ให้ตื่นไปพร้อม ๆ กับคุณด้วย
แก้วยิ้มหวานใบนี้ออกแบบโดย เดเมี่ยน โอ ซุลลิแวน (Damian O'Sullivan) ซึ่งออกแบบแก้วใบนี้ออกมาได้อย่างน่ารักมาก ๆ ราวกับมันมีชีวิตอยู่จริง โดยปกติแล้ว เมื่อแก้วใบนี้อยู่ในระดับอุณหภูมิห้อง แก้วจะยังคงเป็นสีดำ พร้อมใบหน้าที่กำลังนอนหลับอย่างสบาย สายตาพริ้มเพรา ราวกับฝันหวานอยู่ แต่เมื่อใดที่คุณเติมน้ำร้อนลงไป ก็เหมือนกับคุณค่อย ๆ ปลุกมันขึ้นมาจากอาการหลับใหล ซึ่งสีหน้าของมันจะค่อย ๆ ขาวขึ้นเรื่อย ๆ จนกระทั่งมันลืมตาตื่นเต็มที่และมีใบหน้าที่ขาวใสไปทั่วทั้งใบ พร้อมส่งยิ้มหวาน ๆ ให้คุณได้หลงรักมันมากขึ้น
Rue de siam
The Rue de Siam (or Siam Street) is the main arterial street of Brest. Its name comes from the arrival of three ambassadors led by Kosa Pan, sent by the King of Siam on the 29th of June 1686 to meet Louis XIV in Versailles. They went with six mandarins, three translators, two secretaries and a retinue of servants, loaded with presents. They traveled on the boats l'Oiseau and La Maligne.
They crossed Saint-Pierre Street to go to the hostel of the same name. The inhabitants were so amazed that they renamed the street. The street was quite narrow before World War II.
Location
From the Place de la Liberté, in the centre of Brest, the Rue de Siam runs southwest to the Recouvrance Bridge, spanning the river Penfeld. Recouvrance is a working-class district, from old Brest, in contrast to the Rue de Siam where there were all the chic stores and cafés of Brest, in the years 1950-60.
There used to be l’Épée Café on the right and Les Antilles Restaurant on the left. Midshipmen and officers from all nationalities used to have an aperitif at l’Épée and then, cross the Rue de Siam to have supper at Les Antilles.
วันศุกร์ที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2554
เปลี่ยนนิสัยใช้เงินเปลือง (modernmom)
เปลี่ยนนิสัยใช้เงินเปลือง
วิญญาณของนักช็อปอยู่ในตัวผู้หญิงทุกคนค่ะ เห็นด้วยใช่ไหมคะ ก็ผู้หญิงเราน่ะใช้เงินเก่งอยู่แล้วนี่นา ยิ่งพอเห็นของถูกใจนิด ๆ หน่อย ๆ เป็นต้องตาลุกวาว เดี๋ยวซื้อนู่นซื้อนี่ ยังไม่ทันจะสิ้นเดือนตังค์ก็หมดแล้ว แต่เมื่อก้าวสู่การเป็นแม่ ภาระย่อมจะเพิ่มมากขึ้น จะซื้อจะใช้จ่ายอะไรก็ต้องคิดหน้าคิดหลังให้ดี ๆ แต่จะเริ่มเปลี่ยนแปลงนิสัยใช้เงินเปลืองได้อย่างไรนั้น เต่าน้อยมีวิธีค่ะ...
ตั้งปณิธานมุ่งมั่นว่าหลังจากเงินเดือนออก จะซื้อเสื้อผ้า ข้าวของเครื่องใช้ที่จำเป็นภายในงบที่ตั้งเอาไว้ ทำเป็นสมุดบัญชีไว้ยิ่งดีค่ะ แจกแจงค่าใช้จ่ายล่วงหน้าไปเลย ว่าข้าวของที่หมดไปต้องซื้ออันไหนเพิ่มเติม ส่วนเสื้อผ้าเครื่องประทินโฉม ก็ซื้อเท่าที่จำเป็นตามงบที่ตั้งเอาไว้เช่นกันค่ะ
ใจแข็งเข้าไว้ค่ะ อย่าใจอ่อนกับการเสียเงินเพิ่มขึ้น ยกเว้นเรื่องอาหารการกิน เจ็บไข้ไม่สบายของคนในครอบครัว ซึ่งต้องให้ความสำคัญเป็นอันดับหนึ่ง
ตั้งเป้าว่าจะต้องมีเงินเหลือเก็บในแต่ละเดือน เพื่อเป็นกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ อ๊ะ..ไม่ใช่ของรัฐบาลนะคะ ของลูกและแฟนต่างหาก
หักห้ามใจจะไม่ซื้อของฟุ่มเฟือย ต่อให้เป็นของที่อยากได้มากองตรงหน้าก็เหอะ อย่าหวังว่าจะได้เงินคุณอีกเลย ไม่สุรุ่ยสุร่าย ท่องไว้ให้ขึ้นใจเลยค่ะ
ตั้งปณิธานมุ่งมั่นว่าหลังจากเงินเดือนออก จะซื้อเสื้อผ้า ข้าวของเครื่องใช้ที่จำเป็นภายในงบที่ตั้งเอาไว้ ทำเป็นสมุดบัญชีไว้ยิ่งดีค่ะ แจกแจงค่าใช้จ่ายล่วงหน้าไปเลย ว่าข้าวของที่หมดไปต้องซื้ออันไหนเพิ่มเติม ส่วนเสื้อผ้าเครื่องประทินโฉม ก็ซื้อเท่าที่จำเป็นตามงบที่ตั้งเอาไว้เช่นกันค่ะ
ใจแข็งเข้าไว้ค่ะ อย่าใจอ่อนกับการเสียเงินเพิ่มขึ้น ยกเว้นเรื่องอาหารการกิน เจ็บไข้ไม่สบายของคนในครอบครัว ซึ่งต้องให้ความสำคัญเป็นอันดับหนึ่ง
ตั้งเป้าว่าจะต้องมีเงินเหลือเก็บในแต่ละเดือน เพื่อเป็นกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ อ๊ะ..ไม่ใช่ของรัฐบาลนะคะ ของลูกและแฟนต่างหาก
หักห้ามใจจะไม่ซื้อของฟุ่มเฟือย ต่อให้เป็นของที่อยากได้มากองตรงหน้าก็เหอะ อย่าหวังว่าจะได้เงินคุณอีกเลย ไม่สุรุ่ยสุร่าย ท่องไว้ให้ขึ้นใจเลยค่ะ
กระเป๋าสะพายข้างยอดฮิต (Lisa)
Why It’s a Favorite…
Security เพราะว่าปลอดภัยทุกครั้งที่ใช้ ด้วยเทคนิคการสะพายที่มีไม่จำกัดทำให้สามารถสะพายไขว้มาทั้งด้านหน้าด้านข้าง หรือด้านหลังได้ โดยไม่ต้องกลัวว่าจะโดนล้วงกระเป๋า
Convenience สะดวกสบาย พกพาง่าย และแมตช์ได้กับชุดหลากสไตล์ทั้งวันทำงาน ไปเที่ยว หรือปาร์ตี้กลางคืน
Cost-Effective กระเป๋าใบเล็ก ราคาก็ย่อมประหยัดแน่นอน
Tips
ควรปรับสายสะพายให้เหมาะกับสรีระของคุณ เพราะสายที่สั้นหรือยาวเกินไป จะทำให้ดูรุ่มร่ามและเคลื่อนไหวไม่สะดวก
สีและขนาดกระเป๋ามีผลต่อลุคของคุณมาก ถ้าเป็นสาวร่างเล็กแต่สะพายกระเป๋าใบใหญ่เกินไป ก็อาจจะทำให้ช่วงตัวดูตันได้
ลือกแบบให้ดูมีสไตล์ กระเป๋าสะพายมีทั้งแบบโบฮีเมียน วินเทจ หรือสีสันสดใส ถ้าเลือกแบบให้เหมาะกับเสื้อผ้าและลุคของคุณก็จะช่วยเสริมความมั่นใจยิ่งขึ้น
Security เพราะว่าปลอดภัยทุกครั้งที่ใช้ ด้วยเทคนิคการสะพายที่มีไม่จำกัดทำให้สามารถสะพายไขว้มาทั้งด้านหน้าด้านข้าง หรือด้านหลังได้ โดยไม่ต้องกลัวว่าจะโดนล้วงกระเป๋า
Convenience สะดวกสบาย พกพาง่าย และแมตช์ได้กับชุดหลากสไตล์ทั้งวันทำงาน ไปเที่ยว หรือปาร์ตี้กลางคืน
Cost-Effective กระเป๋าใบเล็ก ราคาก็ย่อมประหยัดแน่นอน
Tips
ควรปรับสายสะพายให้เหมาะกับสรีระของคุณ เพราะสายที่สั้นหรือยาวเกินไป จะทำให้ดูรุ่มร่ามและเคลื่อนไหวไม่สะดวก
สีและขนาดกระเป๋ามีผลต่อลุคของคุณมาก ถ้าเป็นสาวร่างเล็กแต่สะพายกระเป๋าใบใหญ่เกินไป ก็อาจจะทำให้ช่วงตัวดูตันได้
ลือกแบบให้ดูมีสไตล์ กระเป๋าสะพายมีทั้งแบบโบฮีเมียน วินเทจ หรือสีสันสดใส ถ้าเลือกแบบให้เหมาะกับเสื้อผ้าและลุคของคุณก็จะช่วยเสริมความมั่นใจยิ่งขึ้น
มะเร็งปากมดลูก รู้เท่าทันสู่นโยบาย (ไทยโพสต์)
โรคมะเร็งปากมดลูก เป็นปัญหาทางสาธารณสุขที่สำคัญของโลก เพราะเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับต้น ๆ ของสตรีรองจากโรคมะเร็งเต้านม และถึงแม้ว่ามะเร็งปากมดลูกเป็นโรคที่สามารถป้องกันได้ แต่การดำเนินการป้องกันยังไม่สามารถทำให้อัตราการเกิดโรคมีแนวโน้มลดลงได้
ดังนั้นคณะกรรมาธิการสาธารณสุข วุฒิสภา คณะอนุกรรมาธิการพิจารณาศึกษาปัญหาสุขภาพของคนไทยและปัจจัยที่เกี่ยวข้อง จึงได้ร่วมกับกระทรวงสาธารณสุข สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และสมาคมแพทย์สตรีแห่งประเทศไทยในพระบรมราชินูปถัมภ์ จัดงานเสวนา "มะเร็งปากมดลูก : รู้เท่าทัน ผลักดันสู่นโยบาย" เพื่อร่วมกันกำหนดนโยบายที่เหมาะสม ในการป้องกันโรคมะเร็งปากมดลูก เพื่อนำเสนอต่อคณะรัฐบาลต่อไป
ศาสตราจารย์นายแพทย์จตุพล ศรีสมบูรณ์ ภาควิชาสูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ กล่าวว่า สถานการณ์ภาพรวมของมะเร็งปากมดลูกในประเทศไทยมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ โดยในแต่ละปีนั้นมีจำนวนผู้ป่วยรายใหม่ประมาณ 10,000 คน หรือคิดเป็นผู้เสียชีวิตวันละประมาณ 27 คน และหากคิดรวมจำนวนผู้เสียชีวิตต่อปีจะมีประมาณปีละ 5,000 คน หรือคิดเป็นผู้เสียชีวิตวันละ 15 คน และในปี 2555 คาดว่าจะมีผู้ป่วยเป็นมะเร็งปากมดลูกวันละ 32 คน และเสียชีวิตวันละ 17 คน ซึ่งในปัจจุบันจังหวัดที่พบผู้ป่วยเป็นมะเร็งปากมดลูกอันดับหนึ่งได้แก่ จังหวัดระยอง อันดับสองคือจังหวัดชลบุรี อับดับสามคือจังหวัดเชียงใหม่ สำหรับอายุของผู้ที่ป่วยเป็นมะเร็งปากมดลูก ร้อยละ 80% มีอายุต่ำกว่า 60 ปี
สำหรับผลกระทบที่เกิดจากโรคมะเร็งปากมดลูกนั้น
1.เมื่อผู้หญิงป่วยเป็นโรคมะเร็งปากมดลูก จะทำให้ครอบครัวขาดรายได้ รวมถึงขาดผู้นำในครอบครัวหรือองค์กร
2.ทำให้รัฐบาลเสียงบประมาณในการรักษา
3.แพทย์ผู้รักษาเสียเวลาในการรักษา 5 ปี
4.โรคมะเร็งส่งผลกระทบต่อสุขภาพจิตใจ
5.ขาดความสัมพันธ์ที่ดีในครอบครัว เพราะฝ่ายชายอาจนอกใจภรรยาได้
ศาสตราจารย์นายแพทย์จตุพลกล่าวอีกว่า หากต้องการผลักดันโรคมะเร็งปากมดลูกไปสู่นโยบายนั้น อันดับแรกควรมีการรณรงค์ให้ผู้หญิงไทยตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกอย่างสม่ำเสมอ และต่อเนื่องตลอดระยะเวลา 5 ปี ไม่ว่าจะเป็นการตรวจคัดกรองในรูปแบบของ Pap smear (การเก็บตัวอย่างเนื้อเยื่อบริเวณปากมดลูกไปตรวจ) หรือการตรวจดูการเปลี่ยนแปลงของเยื่อบุผิวปากมดลูก โดยการใช้น้ำส้มสายชู หรือวิธี VIA ตลอดจนการฉีดวัคซีนป้องกันการติดเชื้อ HPV ที่เป็นต้นเหตุของการเกิดโรคมะเร็งปากมดลูก ซึ่งทั้งสองวิธีที่กล่าวมานี้ เชื่อว่าจะสามารถป้องกันโรคมะเร็งปากมดลูกได้ หากได้รับการสนับสนุนและร่วมมืออย่างจริงจังจากกลุ่มผู้หญิงที่มีอายุระหว่าง 30-60 ปี รวมถึงการรณรงค์จากภาครัฐ
ดร.ภญ.นัยนา ประดิษฐ์สิทธิกร ตัวแทนจากโครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ (HITAP) กล่าวว่า สำหรับต้นทุนค่าใช้จ่ายในการป้องกันโรคมะเร็งปากมดลูกนั้น แบ่งออกเป็น 2 ส่วน ส่วนแรกคือ ค่าใช้จ่ายในการป้องกันโรคมะเร็งปากมดลูก ส่วนที่ 2 นั้นเป็นค่าใช้จ่ายในการรักษาโรค พูดง่าย ๆ ว่าค่าใช้จ่ายในการรักษาผู้ที่ป่วยเป็นมะเร็งปากมดลูกอยู่ที่ประมาณ 3-10 ล้านบาท แต่อย่างไรก็ตาม ถ้าหากเน้นที่การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกอย่างสม่ำเสมอนั้น ต้นทุนในการป้องกันรักษาจะอยู่ที่คนละประมาณ 500 บาท และสามารถไปตรวจคัดกรองได้ 7-10 ครั้ง รวมถึงยังช่วยป้องกันโรคมะเร็งปากมดลูก และลดอัตราการเสียชีวิตในผู้หญิง อีกทั้งลดค่ารักษาจำนวนสูงลงได้ และมีความคุ้มค่ามาก
อย่างไรก็ตาม ดร.ภญ.นัยนาได้เสนอแนะว่า การตรวจคัดกรองนั้นเป็นสิ่งที่ทุกคนควรที่จะต้องทำ ควบคู่ไปกับการฉีดวัคซีนป้องกันมะเร็งปากมดลูก HPV ขณะเดียวกัน เรื่องราคาของวัคซีนดังกล่าวก็ควรอยู่ในราคาที่ประชาชนยอมรับได้ คือ ไม่เกินเข็มละ 190 บาท พูดง่าย ๆ ว่าราคาต่อ 1 ครอส (3 เข็ม) นั้นไม่ควรเกิน 600 บาทนั่นเอง ซึ่งมาตรการดังกล่าวต้องผ่านการพิจารณาโดยคณะกรรมการวัคซีนแห่งชาติ คณะอนุกรรมการชุดสิทธิประโยชน์ของ สปสช. รวมทั้งคณะอนุกรรมการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติด้วย อีกทั้งต้องมีการรณรงค์ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกให้ได้ 80% หลังการฉีดวัคซีนก็เป็นสิ่งที่สำคัญ เพราะจะช่วยลดอัตราผู้หญิงที่ป่วยเป็นโรคมะเร็งลงได้มาก
ด้าน น.ส.ณัฐยา บุญภักดี มูลนิธิสร้างความเข้าใจเรื่องสุขภาพผู้หญิง กล่าวว่า ในปัจจุบันผู้หญิงที่อยู่ในเมืองอย่างกรุงเทพมหานคร รวมถึงจังหวัดใกล้เคียงนั้น ให้ความสนใจและหันมาตระหนักเรื่องของมะเร็งปากมดลูกมาก แต่ไม่ค่อยไปตรวจเนื่องจากยังไม่เกิดอาการอะไรขึ้นจึงยังไม่ไปตรวจ ซึ่งการปล่อยอาการของโรคเอาไว้ จะทำให้อาการลุกลามจนไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ ขณะเดียวกันเรื่องของช่วงว่างในการรับรู้ข้อมูลข่าวสารนั้นยังคงมีอยู่ โดยเฉพาะความต้องการในเรื่องของสถานบริการในการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกนั้น ควรที่จะเพิ่มจำนวนให้มากกว่านี้ และเข้าถึงได้ง่ายกว่าในปัจจุบัน เช่น มีรถให้บริการตรวจคัดกรองถึงที่โดยไม่ต้องลางานไปตรวจ ขณะเดียวกันการลงไปให้ข้อมูลและความรู้เกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูกในชนบทก็เป็นสิ่งที่สำคัญ เพราะผู้หญิงในชนบทยังขาดความรู้ในเรื่องนี้อยู่มาก
น.ส.ณัฐยา ยังเสนอแนะถึงการผลักดันเรื่องโรคมะเร็งปากมดลูกไปสู่นโยบายที่เป็นรูปธรรมว่า นอกจากนโยบายด้านสาธารณสุขที่กล่าวมาแล้วนั้น ควรทำควบคู่ไปกับ
1.การฉีดวัคซีนในกลุ่มเด็กที่มีอายุน้อย (10-12 ปี)
2.ในกลุ่มของผู้ที่มีอายุมากขึ้น เช่น 30 ขึ้นไปควรตรวจด้วยวิธี Pap smear หรือวิธี VIA
3.ต้องมีการรณรงค์ให้ไปตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกอย่างสม่ำเสมอทุก 3 ปี หรือ 5 ปี
4.นโยบายของการรณรงค์ให้ฉีดวัคซีน HPV ควรทำควบคู่ไปกับการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกด้วย จึงจะทำให้สถานการณ์ของโรคมะเร็งปากมดลูกในหญิงไทยลดลงได้
โรคมะเร็งปากมดลูก เป็นปัญหาทางสาธารณสุขที่สำคัญของโลก เพราะเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับต้น ๆ ของสตรีรองจากโรคมะเร็งเต้านม และถึงแม้ว่ามะเร็งปากมดลูกเป็นโรคที่สามารถป้องกันได้ แต่การดำเนินการป้องกันยังไม่สามารถทำให้อัตราการเกิดโรคมีแนวโน้มลดลงได้
ดังนั้นคณะกรรมาธิการสาธารณสุข วุฒิสภา คณะอนุกรรมาธิการพิจารณาศึกษาปัญหาสุขภาพของคนไทยและปัจจัยที่เกี่ยวข้อง จึงได้ร่วมกับกระทรวงสาธารณสุข สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และสมาคมแพทย์สตรีแห่งประเทศไทยในพระบรมราชินูปถัมภ์ จัดงานเสวนา "มะเร็งปากมดลูก : รู้เท่าทัน ผลักดันสู่นโยบาย" เพื่อร่วมกันกำหนดนโยบายที่เหมาะสม ในการป้องกันโรคมะเร็งปากมดลูก เพื่อนำเสนอต่อคณะรัฐบาลต่อไป
ศาสตราจารย์นายแพทย์จตุพล ศรีสมบูรณ์ ภาควิชาสูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ กล่าวว่า สถานการณ์ภาพรวมของมะเร็งปากมดลูกในประเทศไทยมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ โดยในแต่ละปีนั้นมีจำนวนผู้ป่วยรายใหม่ประมาณ 10,000 คน หรือคิดเป็นผู้เสียชีวิตวันละประมาณ 27 คน และหากคิดรวมจำนวนผู้เสียชีวิตต่อปีจะมีประมาณปีละ 5,000 คน หรือคิดเป็นผู้เสียชีวิตวันละ 15 คน และในปี 2555 คาดว่าจะมีผู้ป่วยเป็นมะเร็งปากมดลูกวันละ 32 คน และเสียชีวิตวันละ 17 คน ซึ่งในปัจจุบันจังหวัดที่พบผู้ป่วยเป็นมะเร็งปากมดลูกอันดับหนึ่งได้แก่ จังหวัดระยอง อันดับสองคือจังหวัดชลบุรี อับดับสามคือจังหวัดเชียงใหม่ สำหรับอายุของผู้ที่ป่วยเป็นมะเร็งปากมดลูก ร้อยละ 80% มีอายุต่ำกว่า 60 ปี
สำหรับผลกระทบที่เกิดจากโรคมะเร็งปากมดลูกนั้น
1.เมื่อผู้หญิงป่วยเป็นโรคมะเร็งปากมดลูก จะทำให้ครอบครัวขาดรายได้ รวมถึงขาดผู้นำในครอบครัวหรือองค์กร
2.ทำให้รัฐบาลเสียงบประมาณในการรักษา
3.แพทย์ผู้รักษาเสียเวลาในการรักษา 5 ปี
4.โรคมะเร็งส่งผลกระทบต่อสุขภาพจิตใจ
5.ขาดความสัมพันธ์ที่ดีในครอบครัว เพราะฝ่ายชายอาจนอกใจภรรยาได้
ศาสตราจารย์นายแพทย์จตุพลกล่าวอีกว่า หากต้องการผลักดันโรคมะเร็งปากมดลูกไปสู่นโยบายนั้น อันดับแรกควรมีการรณรงค์ให้ผู้หญิงไทยตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกอย่างสม่ำเสมอ และต่อเนื่องตลอดระยะเวลา 5 ปี ไม่ว่าจะเป็นการตรวจคัดกรองในรูปแบบของ Pap smear (การเก็บตัวอย่างเนื้อเยื่อบริเวณปากมดลูกไปตรวจ) หรือการตรวจดูการเปลี่ยนแปลงของเยื่อบุผิวปากมดลูก โดยการใช้น้ำส้มสายชู หรือวิธี VIA ตลอดจนการฉีดวัคซีนป้องกันการติดเชื้อ HPV ที่เป็นต้นเหตุของการเกิดโรคมะเร็งปากมดลูก ซึ่งทั้งสองวิธีที่กล่าวมานี้ เชื่อว่าจะสามารถป้องกันโรคมะเร็งปากมดลูกได้ หากได้รับการสนับสนุนและร่วมมืออย่างจริงจังจากกลุ่มผู้หญิงที่มีอายุระหว่าง 30-60 ปี รวมถึงการรณรงค์จากภาครัฐ
ดร.ภญ.นัยนา ประดิษฐ์สิทธิกร ตัวแทนจากโครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ (HITAP) กล่าวว่า สำหรับต้นทุนค่าใช้จ่ายในการป้องกันโรคมะเร็งปากมดลูกนั้น แบ่งออกเป็น 2 ส่วน ส่วนแรกคือ ค่าใช้จ่ายในการป้องกันโรคมะเร็งปากมดลูก ส่วนที่ 2 นั้นเป็นค่าใช้จ่ายในการรักษาโรค พูดง่าย ๆ ว่าค่าใช้จ่ายในการรักษาผู้ที่ป่วยเป็นมะเร็งปากมดลูกอยู่ที่ประมาณ 3-10 ล้านบาท แต่อย่างไรก็ตาม ถ้าหากเน้นที่การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกอย่างสม่ำเสมอนั้น ต้นทุนในการป้องกันรักษาจะอยู่ที่คนละประมาณ 500 บาท และสามารถไปตรวจคัดกรองได้ 7-10 ครั้ง รวมถึงยังช่วยป้องกันโรคมะเร็งปากมดลูก และลดอัตราการเสียชีวิตในผู้หญิง อีกทั้งลดค่ารักษาจำนวนสูงลงได้ และมีความคุ้มค่ามาก
อย่างไรก็ตาม ดร.ภญ.นัยนาได้เสนอแนะว่า การตรวจคัดกรองนั้นเป็นสิ่งที่ทุกคนควรที่จะต้องทำ ควบคู่ไปกับการฉีดวัคซีนป้องกันมะเร็งปากมดลูก HPV ขณะเดียวกัน เรื่องราคาของวัคซีนดังกล่าวก็ควรอยู่ในราคาที่ประชาชนยอมรับได้ คือ ไม่เกินเข็มละ 190 บาท พูดง่าย ๆ ว่าราคาต่อ 1 ครอส (3 เข็ม) นั้นไม่ควรเกิน 600 บาทนั่นเอง ซึ่งมาตรการดังกล่าวต้องผ่านการพิจารณาโดยคณะกรรมการวัคซีนแห่งชาติ คณะอนุกรรมการชุดสิทธิประโยชน์ของ สปสช. รวมทั้งคณะอนุกรรมการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติด้วย อีกทั้งต้องมีการรณรงค์ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกให้ได้ 80% หลังการฉีดวัคซีนก็เป็นสิ่งที่สำคัญ เพราะจะช่วยลดอัตราผู้หญิงที่ป่วยเป็นโรคมะเร็งลงได้มาก
ด้าน น.ส.ณัฐยา บุญภักดี มูลนิธิสร้างความเข้าใจเรื่องสุขภาพผู้หญิง กล่าวว่า ในปัจจุบันผู้หญิงที่อยู่ในเมืองอย่างกรุงเทพมหานคร รวมถึงจังหวัดใกล้เคียงนั้น ให้ความสนใจและหันมาตระหนักเรื่องของมะเร็งปากมดลูกมาก แต่ไม่ค่อยไปตรวจเนื่องจากยังไม่เกิดอาการอะไรขึ้นจึงยังไม่ไปตรวจ ซึ่งการปล่อยอาการของโรคเอาไว้ จะทำให้อาการลุกลามจนไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ ขณะเดียวกันเรื่องของช่วงว่างในการรับรู้ข้อมูลข่าวสารนั้นยังคงมีอยู่ โดยเฉพาะความต้องการในเรื่องของสถานบริการในการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกนั้น ควรที่จะเพิ่มจำนวนให้มากกว่านี้ และเข้าถึงได้ง่ายกว่าในปัจจุบัน เช่น มีรถให้บริการตรวจคัดกรองถึงที่โดยไม่ต้องลางานไปตรวจ ขณะเดียวกันการลงไปให้ข้อมูลและความรู้เกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูกในชนบทก็เป็นสิ่งที่สำคัญ เพราะผู้หญิงในชนบทยังขาดความรู้ในเรื่องนี้อยู่มาก
น.ส.ณัฐยา ยังเสนอแนะถึงการผลักดันเรื่องโรคมะเร็งปากมดลูกไปสู่นโยบายที่เป็นรูปธรรมว่า นอกจากนโยบายด้านสาธารณสุขที่กล่าวมาแล้วนั้น ควรทำควบคู่ไปกับ
1.การฉีดวัคซีนในกลุ่มเด็กที่มีอายุน้อย (10-12 ปี)
2.ในกลุ่มของผู้ที่มีอายุมากขึ้น เช่น 30 ขึ้นไปควรตรวจด้วยวิธี Pap smear หรือวิธี VIA
3.ต้องมีการรณรงค์ให้ไปตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกอย่างสม่ำเสมอทุก 3 ปี หรือ 5 ปี
4.นโยบายของการรณรงค์ให้ฉีดวัคซีน HPV ควรทำควบคู่ไปกับการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกด้วย จึงจะทำให้สถานการณ์ของโรคมะเร็งปากมดลูกในหญิงไทยลดลงได้
วันเสาร์ที่ 27 สิงหาคม พ.ศ. 2554
วิตามิน มีดีอะไร
วิตามิน A เป็นสารต้านอนุมูลอิสระ ช่วยในการมองเห็น ป้องกันโรคตาบอด บำรุงสายตา บำรุงผิว ผม และเล็บ
วิตามินบี 1 บำรุงประสาท แก้เหน็บชา ช่วยเผาพลาญคาร์โบไฮเดรต ไปเป็นพลังงาน ถ้าขาดจะหงุดหงิดง่าย
วิตามินบี 2 ช่วยเผาพลาญคาร์โบไฮเดรต ถ้าขาดจะเป็นแผลที่มุมปาก ผิวจะแตกหยาบกระด้าง
วิตามินบี 3 ช่วยเผาพลาญไขมัน และคาร์โบไฮเดรต บำรุงผิวหนังและระบบประสาท
วิตามินบี 5 ช่วยเผาพลาญคาร์โบไฮเดรต ไขมันและโปรตีน ลดอาการภูมิแพ้ หอบหืด นอนไม่หลับ
วิตามินบี 6 ช่วยบรรเทาอาการก่อนจะมีประจำเดือน แก้แพ้ท้อง บำรุงประสาท ลดอาการไขมันอุดตันในเส้นเลือด
วิตามินบี 12 ช่วยเสริมสร้างเม็ดเลือด บำรุงประสาท ป้องกันอาการอ่อนเพลีย เนื่องจากโรคโลหิตจาง
กรดโฟลิก ช่วยสร้างเม็ดเลือดแดง เสริมความจำ โฟเลท ช่วยป้องกันโรคมะเร็งลำไส้ และมะเร้งเต้านม ถ้าในเลือดมีโฟเลทต่ำ ทำให้จิตใจหดหู่ ขาดความรู้สึกทางเพศ
วิตามิน C ต้านอนุมูลอิสระ สร้างคอลลาเจล ช่วยควบคุมระดับคลอเรสเตอรอล บำรุงผิวพรรณและกระดูก ป้องกันโรคมะเร็ง ลดอาการภูมิแพ้ ช่วยบรรเทาอาการหวัด
วิตามิน D บำรุงกระดูกและฟันวิตามิน E ต้านอนุมูลอิสระ ช่วยให้เลือดไหลเวียนดี ป้องกันการแข็งตัวของเลือด
วิตามิน K ช่วยการแข้งตัวของเลือด
ไบโอติน บำรุงเส้นผม ป้องกันผมร่วง
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)