วันพุธที่ 11 มกราคม พ.ศ. 2555

 Morning Mug

         ในแต่ละเช้าที่เราตื่นนอนกันทุกวัน สังเกตไหมว่าเรายังต้องใช้เวลาสักนิดสักหน่อย ในการปรับจูนสมองและสภาพร่างกาย จากนั้นเราถึงจะอาบน้ำ แต่งตัว ลงมาทานอาหารเช้า พร้อมจิบกาแฟอุ่น ๆ กระตุ้นร่างกายให้ตื่นตัวยิ้มรับกับกิจกรรมวันใหม่ที่จะเริ่มต้นขึ้น ทำเช่นนี้เป็นประจำทุกวัน ๆ แต่วันนี้...นอกจากจะต้องปลุกตัวเองแล้ว คุณจะต้องปลุกแก้วกาแฟ มอร์นิ่ง มัค (Morning Mug) ให้ตื่นไปพร้อม ๆ กับคุณด้วย 
          แก้วยิ้มหวานใบนี้ออกแบบโดย เดเมี่ยน โอ ซุลลิแวน (Damian O'Sullivan) ซึ่งออกแบบแก้วใบนี้ออกมาได้อย่างน่ารักมาก ๆ ราวกับมันมีชีวิตอยู่จริง โดยปกติแล้ว เมื่อแก้วใบนี้อยู่ในระดับอุณหภูมิห้อง แก้วจะยังคงเป็นสีดำ พร้อมใบหน้าที่กำลังนอนหลับอย่างสบาย สายตาพริ้มเพรา ราวกับฝันหวานอยู่ แต่เมื่อใดที่คุณเติมน้ำร้อนลงไป ก็เหมือนกับคุณค่อย ๆ ปลุกมันขึ้นมาจากอาการหลับใหล ซึ่งสีหน้าของมันจะค่อย ๆ ขาวขึ้นเรื่อย ๆ จนกระทั่งมันลืมตาตื่นเต็มที่และมีใบหน้าที่ขาวใสไปทั่วทั้งใบ พร้อมส่งยิ้มหวาน ๆ ให้คุณได้หลงรักมันมากขึ้น

Rue de siam

                                   
    The Rue de Siam (or Siam Street) is the main arterial street of Brest. Its name comes from the arrival of three ambassadors led by Kosa Pan, sent by the King of Siam on the 29th of June 1686 to meet Louis XIV in Versailles. They went with six mandarins, three translators, two secretaries and a retinue of servants, loaded with presents. They traveled on the boats l'Oiseau and La Maligne.
They crossed Saint-Pierre Street to go to the hostel of the same name. The inhabitants were so amazed that they renamed the street. The street was quite narrow before World War II.
The Rue de Siam is quoted by Jacques Prévert in his poem Barbara.

Location

From the Place de la Liberté, in the centre of Brest, the Rue de Siam runs southwest to the Recouvrance Bridge, spanning the river Penfeld. Recouvrance is a working-class district, from old Brest, in contrast to the Rue de Siam where there were all the chic stores and cafés of Brest, in the years 1950-60.
There used to be l’Épée Café on the right and Les Antilles Restaurant on the left. Midshipmen and officers from all nationalities used to have an aperitif at l’Épée and then, cross the Rue de Siam to have supper at Les Antilles.